วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 3 วันอังคารที่ 25สิงหาคม 2558



Diary No. 3
Science experiences management for early childhood


Instructor Jintana suksamran


Time 13.30 - 17.30 .
Tuesday, September 25, 2558



Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

พัฒนาการทางด้านสติปัญญา (Cognitlre derelopment)

Knowlead (ความรู้ที่ได้รับ)

ความหมาย ความเจริญงอกงามด้านความสามารถทางภาษาและการคิดของแต่ละบุคคลพัฒนาขึ้นมาจากการมีปฎิสัมพันธ์ interaction กับสิ่งแวดล้อม
- เริ่มตั้งแต่เเรกเกิด ผลของการปฎิสัมพันธ์จะทำให้รุ้จักตัวตน (self) เพราะตอนเเรกเกิดยังไม่สามารถแยกตน ออกจากสิ่งแวดล้อมได้
-  การปฎิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป็นกระบวนการต่อเนื่องตลอดเวลาและตลอดชีวิตทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสมดุล (eqilibricm)
-  กระบวนการดูดซึม (asslimilation)
-  กระบวนการปรับโครงสร้าง (accommodation)
-  การปรับเข้าสู่ภาวะสมดุล
-  การดูดซึมเพื่อรับประสบการณ์ใหม่
-  การปรับโครงสร้างเป็นการปรับโครงสร้างความคิดเดิมให้สอดคล้องเหมาะสมกับประสบการณ์ใหม่ที่ได้รับมา
-  การปรับแนวคิดเเละพฤติกรรมจะทำให้เกิดภาวะสมดุล

สรุป  สติปัญญาเกิดจากการปรับแนวคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่สภาวะสมดุล

Skill (ทักษะที่ได้รับ)

  ได้ร่วมการคิดวิเคราะห์ในการตอบคำถามจากคุณครูร่วมกับผู้อื่น

Adoption( การนำไปใช้)

    ใช้ในการบูรณาการการเรียนรู้ของเด็กชั้นปฐมวัยได้


classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)

       เพื่อนๆให้ความร่วมมือในการตั้งใจฟังคุณครูดีมาก บรรยากาศค่อนข้างเย็น เเต่ไม่ม่โต๊ะในการนั่งเขียน

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)

        มาได้ทันเวลาสอนเข้าใจเนื่อหาที่คุณครูสอน

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)

       เพื่อนให้ความร่วมมือในการตอบคำถามทุกคนอาจมีเสียงคุยบ้างเล็กน้อย

Teacher-Assessment (ประเมินครู)

       เเต่งกายสุภาพเรียบร้อยสอนเข้าใจ มาก่อนเวลาสอน

วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 2 วันอังคารที่ 17 สิงหาคม 2558


Diary No. 2 Science experiences management for early childhood Instructor Jintana suksamran Tuesday, September 17, 2558 Time 13.30 - 17.30 .


สรุปบทความ


ที่มา : กุลยา  ตันติผลาชีวะ. 


การสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเป็นการสอนข้อความรู้  ซึ่งต่างจากการสอนให้รู้ข้อความรู้ตรงที่การสอนข้อความรู้ต้องการความสนใจ  การสังเกต  การจำ  และการเรียกความจำจากความเข้าใจถ่ายโยงได้  ไม่ใช่การท่องจำซึ่งตรงกับการเรียนวิทยาศาสตร์ที่เป็นการเรียนรู้จากการให้คิดและมีเหตุผล  เกิดการเข้าใจมโนทัศน์  เชื่อสานข้อมูลประยุกต์  และสรุปเป็นข้อความรู้ได้ด้วยตนเอง  ซึ่งในการเรียนวิทยาศาสตร์เด็กต้องพัฒนาทักษะการคิดเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปให้ได้  ตัวอย่าง  เช่น  เด็กเรียนเรื่องเต่ากับหนู  โดยการศึกษาเปรียบเทียบ  ค้นหาข้อแตกต่างและข้อเหมือน  และนำไปสู่ข้อสรุปว่า  เต่ามีลักษณะอย่างไร  หนูมีลักษณะอย่างไร ดังนั้นการเรียนวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยจึงมิใช่การสอนให้รู้ข้อความรู้  เพราะเด็กไม่สามารถรับความรู้นามธรรมได้  เด็กปฐมวัยต้องเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากประสบการณ์

วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 1 วันอังคารที่ 11 สิงหาคม 2558


Diary No. 1
Science experiences management for early childhood

Instructor Jintana suksamran
Time 13.30 - 17.30 .
Tuesday, September 11, 2558


Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

คูนครูบอกถึงเนื้อหารายวิชา เเละบอกข้อตกลงในรายวิชาเรียน

การจัดประสบการณ์วิชาวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

Knowlead (ความรู้ที่ได้รับ)

คุณสมบัติของบัณฑิต 6 ด้าน
ความรู้
คุณธรรม
ทักษะทางปัญญา
เทคโนโลยี
ความสัมพันธ์ทักษะทางสังคม
การจัดการเรียนรู้

สาระสำคัญ 4 ด้าน ทางวิทยาศาสตร์

1.  เกี่ยวกับตัวเด็ก
2.  บุคคลเเละสถานที่เเวดล้อม
3.  สิ่งต่างๆรอบตัว
4.  ธรรมชาติครอบครัว

ทักษะทางวิทยาศาสตร์

  ทักษะการสังเกต การสื่อความหมาย

การจัดประสบการณ์
  หลักการจัดประสบการณ์
  เทคนิคการจัดประสบการณ์
  กระบวนการจัดประสบการณ์
  ทฤษฎีการจัดประสบการณ์
  สื่อและสภาพแวดล้อมสนับสนุนการจัดประสบการณ์
  การประเมิน

Skill (ทักษะที่ได้รับ)
  ได้ร่วมการคิดวิเคราะห์ในการตอบคำถามจากคุณครูร่วมกับผู้อื่น

Adoption( การนำไปใช้)

    ใช้ในการบูรณาการการเรียนรู้ของเด็กชั้นปฐมวัยได้


classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)

       เพื่อนๆให้ความร่วมมือในการตั้งใจฟังคุณครูดีมาก บรรยากาศค่อนข้างเย็น

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)

        มาได้ทันเวลาสอนเข้าใจเนื่อหาที่คุณครูสอน

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)

       เพื่อนให้ความร่วมมือในการตอบคำถามทุกคนอาจมีเสียงคุยบ้างเล็กน้อย

Teacher-Assessment (ประเมินครู)

       เเต่งกายสุภาพเรียบร้อยสอนเข้าใจ มาก่อนเวลาสอน