วันพุธที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6


Diary No. 6
Science experiences management for early childhood

Instructor Jintana suksamran

Time 13.30 - 17.30 .
Tuesday, November 15, 2558



Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

หลักการเเนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการเด็ก
ก่อนเข้าสู่บทเรียนคุณครูให้ทบทวนความรู้เรื่องหน้าที่ของสมอง เเละเข้าสู่บทเรียน
1. กีเซล
หลักการ พัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนไปตามธรรมชาติ
               การเรียนรูของเด็กเกิดจากการเคลื่อนไหวและการปรับตัว
  การปฎิบัติการพัฒนาการเด็ก
  - จัดกิจกรรมเคลื่อนไหว
  - ให้เด็กเล่นกลางเเจ้ง
  - กิจกรรมสร้างสรรค์ใช้ประสาทสัมพันธ์ระหว่างมือกะตา
2. ฟรอย
หลักการ  ประสบการณ์ในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของคนเราเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ หากไม่ได้รับการตอบสนองอย่างเพียงพอจะเกิดการชะงั้กและพฤติกรรมถดถอย
การปฎิบัติการพัฒนาการเด็ก
- ครูเป็นแบบอย่างที่ดีให้เเก่เด็ก
- จัดกิจกรรมจากง่ายไปหายาก
3. อิริคสัน
หลักการ ถ้าเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่พอใจจะทำให้ประสบความสำเร็จเด็กจะมองโลกในเเง่ดีเชื่อมั่นเเละไว้วางใจผู้อื่นถ้าหากอยู่ในสิ่งเเวดล้อมไม่ดีจะเป็นในทิศทางตรงกันข้าม
การปฎิบัติการพัฒนาการเด็ก
- จัดกิจกรรมให้เด็กได้ประสบความสำเร็จพึงพอใจ ต่อสภาพแวดล้อม
- จัดบรรยากาศในห้องเรียนให้เด็กมีโอกาสสร้างปฎิสัมพันธ์ที่ดีต่อสภาพเเวดล้อมครูและเพื่อน
ดิวอี้
หลักการ การกระทำ
การปฎิบัิการพัฒนาเด็ก
- จัดกิจกรรมให้เด็กได้ทำได้ประสบตวามสำเร็จ
สกินเนอร์
หลักการ การเสริมเเรงได้รับคำชมจะทำให้เด็กสนใจทำต่อ
การปฎิบัติการพัฒนาการเด็ก
- ให้เเรงเสริมเมื่อเด็กประสบความสำเร็จ
- ไม่ให้เด็กแข่งขันกัน
โจฮัน เปสตาวอสชี่
หลักการ ความรักเป็นความสำคัญเเละจำำเป็นต่อการพัฒนาเด็กทั้งร่างกานเเละสติปัญญา
               เด็กไม่ควรถูกบังคับให้เรียนด้วยการท่องจำ
การปฎิบัติการพัฒนาการเด็ก
- จัดกิจกรรมเตรียมพร้อมให้ความรัก
เฟลอเบล
หลักการ ควรส่งเสิมพัฒนาการตามธรรมชาติของเด็ก
               การเล่นเป็นการเรียนรู้ของเด็ก
การปฎิบัติการพัฒนาการเด็ก
- จัดกิจกรรมการเล่นอย่างเสรี      

ความหมายของวิชาวิทยาศาสตร์ คือ    การสืบค้นการทดลองเพื่อค้นหาความเป็นจริงซึ่งทำให้ได้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
1. การเปลี่ยนแปลง
2. ความเเตกต่าง
3. การปรับตัว
4. พึงพาอาศัย
5. สมดุล
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์
1. ขั้นกำหนดปัญหา
2. ขั้นตั้งสมมุติฐาน
3. ขั้นสอบสวน
4. ขั้นสรุป
เจตคติวิทยาศาสตร์
1. ความอยากรุ้อยากเห็น
2. ความเพียรพยายาม
3. ความมีเหตุผล
4. ความซื่อสัตย์
5. ความใจกว้าง
6. ความมีระเบียบรอบคอบ

การเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ คือ
การเรียนรู้ปฎิบัติจริง
เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
พัฒนาทักษะการสังเกตการสรุปความคิดรวบยอด
กิจกรรมโครงการ กิจวัตรประจำวัน (6 กิจกรรม )

พัฒนาการเรียนรู้เด็กปฐมวัยเเบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
การเรียนรู้อย่างมีความสุข
การคิดปฎิบัติจริง
การเรียนรูแบบองค์รวมที่ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน
สรุป พัฒนาเด็กครบทุกพัฒนาการ เน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองเเละอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมต้อมมีความสมดุลยึดเด็กเป็นสำคัญและต้องประสานสัมพันธ์กับครอบครัวเเละชุมชน
                                               
Skill (ทักษะที่ได้รับ)

  ได้ร่วมการคิดวิเคราะห์ในการตอบคำถามจากคุณครูร่วมกับผู้อื่น

Adoption( การนำไปใช้)

    ใช้ในการบูรณาการการเรียนรู้ของเด็กชั้นปฐมวัยได้เเละได้รูวิธีในการดูเเลเด็กปฐมวัย


classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)

       เพื่อนๆให้ความร่วมมือในการตั้งใจฟังคุณครูดีมาก บรรยากาศค่อนข้างเย็น เเต่ไม่ม่โต๊ะในการนั่งเขียน

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)

        มาได้ทันเวลาสอนเข้าใจเนื่อหาที่คุณครูสอน

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)

       เพื่อนให้ความร่วมมือในการตอบคำถามทุกคนอาจมีเสียงคุยบ้างเล็กน้อย

Teacher-Assessment (ประเมินครู)


       เเต่งกายสุภาพเรียบร้อยสอนเข้าใจ มาก่อนเวลาสอน

วันอังคารที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 5 วันอังคารที่ 8 กันยายน 2558


Diary No. 5
Science experiences management for early childhood


Instructor Jintana suksamran


Time 13.30 - 17.30 .

Tuesday, Novebber 8, 2558

Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

เดวมาใส่คะ
Knowlead (ความรู้ที่ได้รับ)


กิจกรรม คุณครูให้เพื่อนร่วมกันคิดสร้างสรรค์ผลงานของเล่นจากกระดาษ A4 โดยให้พับเป็นของเล่นที่ช่วยส่งเสริมความรู้ด้านวิชาวิทยาศาสตร์ และให้นักศึกษาอธิบายเเนวมางการสอนโดยการสอนจากของเล่นที่ตนเองได้ประดิษฐ์ขึ้น ตัวดิฉันได้พับเป็นพัด ซึ่งสอดคล้องเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง ลม
ลม

ลม คือ กระแสอากาศที่เคลื่อนที่ในแนวนอน ส่วนกระแสอากาศคือ อากาศที่เคลื่อนที่ในแนวตั้ง การเรียกชื่อลมนั้นเรียกตามทิศทางที่ลมนั้นๆ พัดมา เช่น ลมที่พัดมาจากทิศเหนือเรียกว่า ลมเหนือ และลมที่พัดมาจากทิศใต้เรียกว่า ลมใต้ เป็นต้น ในละติจูดต่ำไม่สามารถจะคำนวณหาความเร็วลม แต่ในละติจูดสูงสามารถคำนวณหาความเร็วลมได้



Skill (ทักษะที่ได้รับ)

  ได้ร่วมการคิดวิเคราะห์ในการตอบคำถามจากคุณครูร่วมกับผู้อื่น

Adoption( การนำไปใช้)

    ใช้ในการบูรณาการการเรียนรู้ของเด็กชั้นปฐมวัยได้โดยการทำกระดาษให้เป็นของเล่นทางวิชาวิทยาศาสตร์ได้


classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)

       เพื่อนๆให้ความร่วมมือในการตั้งใจฟังคุณครูดีมาก บรรยากาศค่อนข้างเย็น เเต่ไม่ม่โต๊ะในการนั่งเขียน

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)

        มาไม่ได้ทันเวลาสอนเพราะเข้าใจว่า เรียน 14.30 เข้าใจเนื่อหาที่คุณครูสอน

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)

       เพื่อนให้ความร่วมมือในการตอบคำถามทุกคนอาจมีเสียงคุยบ้างเล็กน้อย

Teacher-Assessment (ประเมินครู)

       เเต่งกายสุภาพเรียบร้อยสอนเข้าใจ มาก่อนเวลาสอน

วันอังคารที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 4 วันอังคารที่ 1กันยายน 2558



Diary No. 4
Science experiences management for early childhood


Instructor Jintana suksamran


Time 13.30 - 17.30 .
Tuesday, Novebber 1 , 2558

คณะศึกษาศาสตร์ ได้จัดทำการอบรมนักศึกษาระดับชั้นปีที่  3 เกี่ยวกับเรื่องการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษ
ที่ 20 ว่ามีการจัดการเรียนรู้อย่างไร ผู้บรรยายให้ความรู้ คือ ดร. อภิภู ท่านได้บรรยายเรื่องเกี่ยวกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

ปัจจัยสนับสนุนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
องค์ประกอบที่สำคัญและจำเป็นเพื่อในการเรียนรู้ของนักเรียนทักษะในศตวรรษที่ 21 คือ มาตรฐานศตวรรษที่ 21 การประเมินผลหลักสูตรการเรียนการสอนการพัฒนาอาชีพและสภาพแวดล้อมการเรียนรู้จะต้องสอดคล้องกับระบบสนับสนุนการผลิตที่ก่อให้เกิดผลลัพธ์ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนในปัจจุบัน
มาตรฐานศตวรรษที่ 21
-  มุ่งเน้นทักษะในศตวรรษที่ 21 นักเรียนมีความรู้ในเนื้อหาและความเชี่ยวชาญ
-  สร้างความเข้าใจระหว่างวิชาหลัก เช่นเดียวกับรูปแบบสหวิทยาการศตวรรษที่ 21
-  เน้นความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมากกว่าความรู้แบบผิวเผิน
-  การของมีส่วนร่วมของนักเรียนกับ ข้อมูลและ เครื่องมือในโลกแห่งความเป็นจริงและพวกเขาจะพบผู้
เชียวชาญในวิทยาลัยหรือในที่ทำงานและ ชีวิตนักเรียนจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดเมื่อทำงานอย่างแข็งขัน การแก้ปัญหาที่มีความหมาย
-  การมีมาตรการหลายๆรูปแบบของการเรียนรู้
การประเมินด้านทักษะในศตวรรษที่ 21
-  รองรับความสมดุลของการประเมินรวมทั้งมีคุณภาพสูง การทดสอบมาตรฐานที่มีคุณภาพสูงพร้อมกับการประเมินผลในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ
-  เน้นข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานของนักเรียนที่ถูกฝังลงในการเรียนรู้ในชีวิตประจำวัน
-  การประเมินการใช้เทคโนโลยีให้มีความสมดุล ความชำนาญนักเรียนซึ่งเป็นการวัดทักษะในศตวรรษที่ 21
-  ช่วยให้การพัฒนาคุณภาพนักเรียนนักศึกษาที่แสดงให้เห็นการเรียนรู้ทักษะในศตวรรษที่ 21 เพื่อการศึกษาและการทำงานในอนาคต
-  ช่วยให้มาตรการการประเมินประสิทธิภาพระบบการศึกษาในระดับที่สูงประเมินถึงสมรรถนะของนักเรียนด้านทักษะในศตวรรษที่ 21
หลักสูตร และการสอนในศตวรรษที่ 21
-  สอนทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งแยกกัน ในบริบทของวิชาหลักและ รูปแบบสหวิทยาการในศตวรรษที่  21
-  มุ่งเน้นไปที่การให้โอกาสสำหรับการใช้ทักษะในศตวรรษที่ 21 ในเนื้อหาและวิธีการตามความสามารถในการเรียนรู้
-  ช่วยให้วิธีการเรียนรู้นวัตกรรมที่บูรณาการการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนแนวทางเพิ่มเติมในการใช้ปัญหาเป็นฐาน  และทักษะการคิดขั้นสูง
-  สนับสนุนให้รวมทรัพยากรของชุมชน ภูมิปัญญาชาวบ้าน แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน
การพัฒนามืออาชีพในศตวรรษที่ 21
-  ครูมีแนวทางการสอนมีความสามารถสำหรับการบูรณาการทักษะในศตวรรษที่ 21 เครื่องมือและกลยุทธ์การเรียนการสอนไปสู่​​การปฏิบัติในชั้นเรียนของพวกเขา
-  การเรียนการสอนมที่มุ่งเน้นการทำโครงงาน
-  แสดงให้เห็นว่ามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องจริงสามารถเพิ่มการแก้ปัญหาการคิดเชิงวิพากษ์และอื่น ๆ ทักษะในศตวรรษที่ 21
-  ช่วยให้มืออาชีพในชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ สำหรับครูที่ 21 ว่ารูปแบบชนิดของการเรียนรู้ในห้องเรียนที่ดีที่สุดส่งเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียน
-  การพัฒนา ความสามารถในการระบุตัวตนของนักเรียนโดยครูมีรูปแบบการเรียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งรู้จุดแข็งและจุดอ่อนของผู้เรียน
-  ช่วยให้ครูพัฒนาความสามารถในการใช้กลยุทธ์ต่างๆ (เช่นการประเมินผลการเรียนการสอน) ถึงนักเรียนที่มีความหลากหลายและสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนความแตกต่างการเรียนการสอนและการเรียนรู้
-  รองรับการประเมินผลอย่างต่อเนื่องของการพัฒนาทักษะของนักเรียนศตวรรษที่ 21
-  ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างชุมชนของผู้ปฏิบัติงานโดยการหันหน้าเข้าหากันการสื่อสารเสมือนและผสม
-  ใช้รูปแบบความเป็นอันหนึ่งหันเดียวกันและความยั่งยืนของการพัฒนาวิชาชีพ
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
-  สร้างการเรียนรู้วิธีปฏิบัติที่สนับสนุนความต้องการของมนุษย์และสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่จะสนับสนุนการเรียนการสอนและการเรียนรู้ด้วยทักษะในศตวรรษที่ 21
-  สนับสนุนการเรียนรู้ชุมชนมืออาชีพที่ช่วยให้การศึกษาเพื่อการทำงานร่วมกันแบ่งปันแนวทางปฏิบัติที่ดีและบูรณาการทักษะในศตวรรษที่ 21 ในการปฏิบัติในชั้นเรียน
-  ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ในงานที่เกี่ยวข้องในโลกศตวรรษที่ 21 แวดล้อมจริง (เช่น ปฏิบัติจริงหรือผ่านการทำงานที่ใช้ตามโครงการหรืออื่น ๆ )
-  เรียนรู้การใช้เครื่องมือเทคโนโลยีและทรัพยากรอย่างมีคุณภาพ  รู้จักการทำงานสำหรับการเรียนรู้เป็นกลุ่มทีมและรายบุคคล
-  สนับสนุนการติดต่อกับชุมชนและการมีส่วนระหว่างต่างชาติในการเรียนรู้โดยตรงและออนไลน์
  การเตรียมความพร้อมให้นักเรียนในศตวรรษที่ 21 อาศัยการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการมีวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายที่ชัดเจน  ผู้เรียนจะต้องมีความรู้ที่จำเป็นในการใช้ชีวิตและทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความรู้และทักษะเพื่อให้สามารถการใช้ชีวิต การทำงาน ดำรงชีพอยู่ได้กับภาวะเศรษฐกิจในสังคมโลกปัจจุบัน


และเมื่อบรรยายเสร็จได้รับทานอาหารฟรีจากการรับฟังคำบรรยาย เเละชมนิทรรศการของคณะศึกษาศาสตร์ มีทั้งหมด 4 สาขา ได้เเก การศึกษาปฐมวัย พละศึกษา  เทคโนโลยี เเละจิตวิทยา ภาพบรรยากาศภายในงาน
วิจัย เอกพละศึกษา

เอกพละศึกษา

เอกการศึกษาปฐมวัย

พี่ชั้นปีที่ 4 เอกการศึกษาปฐมวัย

เอกการศึกษาปฐมวัย
Skill (ทักษะที่ได้รับ)

 ได้ทักษะการฟังจากผู้บรรยาย 

Adoption( การนำไปใช้)

   ใช้ในการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย

 atmosphere (บรรยากาศในงาน)

       มีความสนุกสนานผู้บรรยายให้ความรู้ดีชัดเจน น่าฟัง อาจง่วงนอนบ้างเพราะอบรมในเวลาเช้า 

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)

        มาได้ทันเวลาอบรม ตั้งใจฟังอย่างตั้งใจ

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)

       เพื่อนให้ความร่วมมือในการเข้าอบรมกันทุกคน

Teacher-Assessment (ประเมินครู)

       เเต่งกายสุภาพเรียบร้อยมาร่วมเข้าฟังอบรมในครั้งนี้ด้วย