วันพุธที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6


Diary No. 6
Science experiences management for early childhood

Instructor Jintana suksamran

Time 13.30 - 17.30 .
Tuesday, November 15, 2558



Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

หลักการเเนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาการเด็ก
ก่อนเข้าสู่บทเรียนคุณครูให้ทบทวนความรู้เรื่องหน้าที่ของสมอง เเละเข้าสู่บทเรียน
1. กีเซล
หลักการ พัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนไปตามธรรมชาติ
               การเรียนรูของเด็กเกิดจากการเคลื่อนไหวและการปรับตัว
  การปฎิบัติการพัฒนาการเด็ก
  - จัดกิจกรรมเคลื่อนไหว
  - ให้เด็กเล่นกลางเเจ้ง
  - กิจกรรมสร้างสรรค์ใช้ประสาทสัมพันธ์ระหว่างมือกะตา
2. ฟรอย
หลักการ  ประสบการณ์ในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของคนเราเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ หากไม่ได้รับการตอบสนองอย่างเพียงพอจะเกิดการชะงั้กและพฤติกรรมถดถอย
การปฎิบัติการพัฒนาการเด็ก
- ครูเป็นแบบอย่างที่ดีให้เเก่เด็ก
- จัดกิจกรรมจากง่ายไปหายาก
3. อิริคสัน
หลักการ ถ้าเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่พอใจจะทำให้ประสบความสำเร็จเด็กจะมองโลกในเเง่ดีเชื่อมั่นเเละไว้วางใจผู้อื่นถ้าหากอยู่ในสิ่งเเวดล้อมไม่ดีจะเป็นในทิศทางตรงกันข้าม
การปฎิบัติการพัฒนาการเด็ก
- จัดกิจกรรมให้เด็กได้ประสบความสำเร็จพึงพอใจ ต่อสภาพแวดล้อม
- จัดบรรยากาศในห้องเรียนให้เด็กมีโอกาสสร้างปฎิสัมพันธ์ที่ดีต่อสภาพเเวดล้อมครูและเพื่อน
ดิวอี้
หลักการ การกระทำ
การปฎิบัิการพัฒนาเด็ก
- จัดกิจกรรมให้เด็กได้ทำได้ประสบตวามสำเร็จ
สกินเนอร์
หลักการ การเสริมเเรงได้รับคำชมจะทำให้เด็กสนใจทำต่อ
การปฎิบัติการพัฒนาการเด็ก
- ให้เเรงเสริมเมื่อเด็กประสบความสำเร็จ
- ไม่ให้เด็กแข่งขันกัน
โจฮัน เปสตาวอสชี่
หลักการ ความรักเป็นความสำคัญเเละจำำเป็นต่อการพัฒนาเด็กทั้งร่างกานเเละสติปัญญา
               เด็กไม่ควรถูกบังคับให้เรียนด้วยการท่องจำ
การปฎิบัติการพัฒนาการเด็ก
- จัดกิจกรรมเตรียมพร้อมให้ความรัก
เฟลอเบล
หลักการ ควรส่งเสิมพัฒนาการตามธรรมชาติของเด็ก
               การเล่นเป็นการเรียนรู้ของเด็ก
การปฎิบัติการพัฒนาการเด็ก
- จัดกิจกรรมการเล่นอย่างเสรี      

ความหมายของวิชาวิทยาศาสตร์ คือ    การสืบค้นการทดลองเพื่อค้นหาความเป็นจริงซึ่งทำให้ได้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
1. การเปลี่ยนแปลง
2. ความเเตกต่าง
3. การปรับตัว
4. พึงพาอาศัย
5. สมดุล
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์
1. ขั้นกำหนดปัญหา
2. ขั้นตั้งสมมุติฐาน
3. ขั้นสอบสวน
4. ขั้นสรุป
เจตคติวิทยาศาสตร์
1. ความอยากรุ้อยากเห็น
2. ความเพียรพยายาม
3. ความมีเหตุผล
4. ความซื่อสัตย์
5. ความใจกว้าง
6. ความมีระเบียบรอบคอบ

การเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ คือ
การเรียนรู้ปฎิบัติจริง
เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
พัฒนาทักษะการสังเกตการสรุปความคิดรวบยอด
กิจกรรมโครงการ กิจวัตรประจำวัน (6 กิจกรรม )

พัฒนาการเรียนรู้เด็กปฐมวัยเเบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
การเรียนรู้อย่างมีความสุข
การคิดปฎิบัติจริง
การเรียนรูแบบองค์รวมที่ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน
สรุป พัฒนาเด็กครบทุกพัฒนาการ เน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองเเละอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมต้อมมีความสมดุลยึดเด็กเป็นสำคัญและต้องประสานสัมพันธ์กับครอบครัวเเละชุมชน
                                               
Skill (ทักษะที่ได้รับ)

  ได้ร่วมการคิดวิเคราะห์ในการตอบคำถามจากคุณครูร่วมกับผู้อื่น

Adoption( การนำไปใช้)

    ใช้ในการบูรณาการการเรียนรู้ของเด็กชั้นปฐมวัยได้เเละได้รูวิธีในการดูเเลเด็กปฐมวัย


classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)

       เพื่อนๆให้ความร่วมมือในการตั้งใจฟังคุณครูดีมาก บรรยากาศค่อนข้างเย็น เเต่ไม่ม่โต๊ะในการนั่งเขียน

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)

        มาได้ทันเวลาสอนเข้าใจเนื่อหาที่คุณครูสอน

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)

       เพื่อนให้ความร่วมมือในการตอบคำถามทุกคนอาจมีเสียงคุยบ้างเล็กน้อย

Teacher-Assessment (ประเมินครู)


       เเต่งกายสุภาพเรียบร้อยสอนเข้าใจ มาก่อนเวลาสอน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น