วันจันทร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11



Diary No. 11
Science experiences management for early childhood

Instructor Jintana suksamran

Time 13.30 - 17.30 .

Tuesday, November 13 , 2558


Story of subject (เนื้อหาที่สอน)
เพื่อนออกนำเสนอเสนองานวิจัย
เพื่อนๆเต่ละกลุ่มออกมาเสนองานสิ่งประดิษฐ์ 3 อย่าง

แบ่งกลุ่มทำเเผนเกียวกับสาระการเรียนรู้ กลุ่มฉันได้หน่วย บ้าน                                              
- สาระที่ควรเรียนรู้
  



เรื่องบ้านมีหัวข้อ  ดังนี้ 
1.สมาชิก
   พ่อ
   แม่
   ฉัน
   ปู่/ย่า
   ตา/ยาย
   ลุง/ป้า
   น้า/อา
2.ประเภท
    แบบเทาเฮาส์สองชั้น
    แบบบ้านเดี่ยว
3.ลักษณะ
   สี
   ขนาด (เล็ก,กลาง,ใหญ่)
   ส่วนประกอบ (หลังคา,ประตู,หน้าต่าง,บันได)
   ห้องต่างๆ ภายในห้อง (ห้องนอน,ห้องน้ำ,ห้องครัว,ห้องรับแขก)
   รูปทรง (สามเหลี่ยม,สี่เหลี่ยม)
   จำนวนชั้น (2ชั้น,3ชั้น,4ชั้น)
4.การดูแลรักษา
   กวาดพื้น
   ถูพื้น
   เช็ดฝุ่น
5.ประโยชน์
   พักผ่อน
   อยู่อาศัย
   บังแดดบังฝน
6.ข้อพึงระวัง
   บันไดมีความชัน
ทำของเล่นเกี่ยวข้องกับ  บ้าน
1.ของเล่นที่ใช้ในการทดลอง บ้านลูกโป่งลอยได้
2.ของเล่นเข้ามุม   บ้านไฟฉาย

3.ของเล่นประดิษฐ์ได้เอง พัดมายากล

Skill (ทักษะที่ได้รับ)

  ได้ร่วมการคิดวิเคราะห์ในการตอบคำถามจากคุณครูร่วมกับผู้อื่นได้ใช้ความคิดในการสร้างสิ่งประดิษฐ์เเต่ละอย่างโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์
Adoption( การนำไปใช้)
    ใช้ในการบูรณาการการเรียนรู้ของเด็กชั้นปฐมวัยได้เเละได้เข้าใจการเรียนรู้ของเด็ก 
classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
       เพื่อนๆให้ความร่วมมือในการตั้งใจฟังคุณครูดีมาก บรรยากาศค่อนข้างเย็น เเต่ไม่มีโต๊ะในการนั่งเขียน
Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
        มาได้ทันเวลาสอนเข้าใจเนื่อหาที่คุณครูสอน
friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
       เพื่อนให้ความร่วมมือในการตอบคำถามทุกคนอาจมีเสียงคุยบ้างเล็กน้อย
Teacher-Assessment (ประเมินครู)

       เเต่งกายสุภาพเรียบร้อยสอนเข้าใจ มาก่อนเวลาสอน

วันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

Diary No. 10
Science experiences management for early childhood


Instructor Jintana suksamran



Time 13.30 - 17.30 .


Tuesday, November 13 , 2558

Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

นำเสนองานวิจัย
นำเสนอโทรทัศน์ครุ
นำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์

สาระที่เด็กควรรู้
เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก

สิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก
รู้จักชื่อ-นามสกุล รูปร่าง หน้าตา อวัยวะต่างๆ วิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาด ปลอดภัย เรียนรู้ที่จะเล่นและทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเองคนเดียวหรือกับผู้อื่น ตลอดจนเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก และแสดงมารยาทที่ดี

รู้จักและรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน รวมทั้งบุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือมีโอกาสใกล้ชิดและมีปฎิสัมพันธ์ในชีวิตประจำวัน

ธรรมชาติรอบตัว
รู้จักสิ่งมีชีวิตที่เป็นต้นไม้ ดอกไม้ สัตว์ รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของโลกที่แวดล้อมเด็กตามธรรมชาติ เช่น ฤดูกาล กลางวัน-กลางคืน ฯลฯ
รู้จักสิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ และการสื่อสารต่างๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวันของเด็ก

กิจกรรม ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม 5 คน ทำ mindmapping  เรื่องที่เกี่ยวกับการเรียนรู้รอบตัวเด็ก 

กลุ่มดิฉันได้รับเรื่อง บุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก ได้ทำเรื่อง บ้าน 



                                รูป

เรื่องบ้านเเบ่งเป็น 4 หัวข้อได้เเก่  
ประเภท 
ลักษณะ 
การดูเเล 
สี 
ขนาด
 ประโยชน์

คุณครูสั่งงาน 3 ชิ้น ให้ประดิษฐ์เกี่ยวกับบ้าน มีคำสั่งดังนี้ 
1. ของเล่นเด็กที่สามารถทำเองได้
2. ของเล่นเข้ามุมประสบการณ์
3. ของเล่นที่ทำการทดลอง 

Skill (ทักษะที่ได้รับ)

  ได้ร่วมการคิดวิเคราะห์ในการตอบคำถามจากคุณครูร่วมกับผู้อื่นได้ใช้ความคิดในการคิดเป็น mind mapping เพื่อเป็นสื่อพื้นฐานในการสอนเด็กในเชิงวิทยาศาสตร์ที่เริ่มจากง่ายๆไปสูู่การเรียนรู้ที่ยากขึ้น

Adoption( การนำไปใช้)

    ใช้ในการบูรณาการการเรียนรู้ของเด็กชั้นปฐมวัยได้เเละได้เข้าใจการเรียนรู้ของเด็ก 
classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)

       เพื่อนๆให้ความร่วมมือในการตั้งใจฟังคุณครูดีมาก บรรยากาศค่อนข้างเย็น เเต่ไม่มีโต๊ะในการนั่งเขียน

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)

        มาได้ทันเวลาสอนเข้าใจเนื่อหาที่คุณครูสอน

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)

       เพื่อนให้ความร่วมมือในการตอบคำถามทุกคนอาจมีเสียงคุยบ้างเล็กน้อย

Teacher-Assessment (ประเมินครู)


       เเต่งกายสุภาพเรียบร้อยสอนเข้าใจ มาก่อนเวลาสอน

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 9

Diary No. 9
Science experiences management for early childhood


Instructor Jintana suksamran



Time 13.30 - 17.30 .


Tuesday, November 6 , 2558

Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

นำเสนอของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์
ของเล่น เรื่องเสียงฤ

ชื่อของเล่น ป๋องแป๋ง

อุปกรณ์

1. กระป๋องนม
2. ตะเกียบ
3. ลูกปัด
4. กระดาษห่อของขวัญ
5.ตะปู

วิธีทำ

  1. นำกระป๋องขนมที่เตรียมไว้ เจาะรูปด้านข้าง แล้วเสียบตะเกียบลงไป
  2. จากนั้น ร้อยเชือกกับลูกปัด ติดสก็อตเทป ห้อยไว้ทั้งสองด้าน
  3. ห่อกระดาษให้สวยงามนำไปเล่น

รูป

Skill (ทักษะที่ได้รับ)

  ได้ร่วมการคิดวิเคราะห์ในการตอบคำถามจากคุณครูร่วมกับผู้อื่นได้ใช้การจินตนาสร้างสรรค์ผลงาน

Adoption( การนำไปใช้)

    ใช้ในการบูรณาการการเรียนรู้ของเด็กชั้นปฐมวัยได้เเละรู้จักการประดิษฐ์ของเล่นจากสิ่งเหลือใช้

classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)

       เพื่อนๆให้ความร่วมมือในการตั้งใจฟังคุณครูดีมาก บรรยากาศค่อนข้างเย็น เเต่ไม่ม่โต๊ะในการนั่งเขียน

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)

        มาได้ทันเวลาสอนเข้าใจเนื่อหาที่คุณครูสอน

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)

       เพื่อนให้ความร่วมมือในการตอบคำถามทุกคนอาจมีเสียงคุยบ้างเล็กน้อย

Teacher-Assessment (ประเมินครู)


       เเต่งกายสุภาพเรียบร้อยสอนเข้าใจ มาก่อนเวลาสอน

บันทึก อนุทินครั้งที่ 8

Diary No. 8
Science experiences management for early childhood


Instructor Jintana suksamran



Time 13.30 - 17.30 .
Tuesday, November 29 , 2558





ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากสอบ

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

Diary No. 7
Science experiences management for early childhood


Instructor Jintana suksamran



Time 13.30 - 17.30 .
Tuesday, November 22, 2558



Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

นำเสนองานคู่ คู่ของดิฉันได้นำเสนอเรื่องหิน ดิน ทราย ที่ จะใช้สอนเด็กในวิชา วิทยาศาสตร์

การเรียนรู้เรื่อง หิน ดิน ทราย
                   
   หินอยู่ในสาระที่ควรเรียนรู้ ธรรมชาติรอบตัว เนื้อหาที่เด็กจะเรียนรู้ได้ว่า หินคืออะไร มีรูปร่างลักษณะอย่างไร อยู่ที่ไหน มีชนิดใดบ้าง เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร เมื่อครูนำสาระมาพิจารณาจัดผสมผสานหรือบูรณาการแล้ว สามารถจัดหลอมสาระการเรียนรู้อื่น ได้แก่ เรื่องสถานที่แวดล้อมเด็ก เช่น สถานที่ใดบ้างนำหินมาใช้ก่อสร้าง เพื่อประโยชน์อะไร หรือสาระการเรียนรู้เกี่ยวกับตัวเด็ก ได้แก่ เรารู้สึกอย่างไรเมื่อสัมผัสหิน (หนัก เบา ราบเรียบ ขรุขระ สีต่างๆ) เราเห็นรูปร่าง ลักษณะ เป็นอย่างไร (กลม แบน ใหญ่ เล็ก) หรือ สาระการเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัว เช่น สิ่งต่างๆที่มนุษย์สร้างจากหิน 

การสอนเรื่องทราย (Teaching Children about Sand) หมายถึง การจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้คุณสมบัติของทรายว่า มีลักษณะเป็นเศษหินที่มีลักษณะร่วนซุย ไม่เกาะตัวกัน มีตั้งแต่ขนาดเล็กที่สุด มีชื่อเรียกต่างๆ 
    การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องทราย ซึ่งเป็นสาระเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมตัวเด็ก ครูจึงจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่บูรณาการกับกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ศิลปะ และภาษา เน้นให้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ฝึกความคิดของเด็ก โดยการสังเกตและการทดลอง 

ตัวอย่างการจัดกิจกรรม 

ความเเตกต่าง ของหิน ดิน ทราย เนื้อสัมผัส การดูดซึมจากน้อยไปมาก เเละการไหล ผ่าน
วัตถุประสงค์
เมื่อเด็กทำกิจกรรมเสร็จแล้วสามารถรู้
1. การดูดซึมของหิน ดิน ทราย
2. การไหลผ่านน้ำของหิน ดิน ทราย 

วัสดุอุปกรณ์
1. กระบะ
2. หิน ดิน ทราย
3. น้ำ

กิจกรรม 
1. ให้เด็กสัมผัสของ หิน ดิน ทราย ว่ามีลักษณะเป็นอย่าง ไร 
2. ให้เด็กคาดเดาว่า การทดลองการดูดซึมของ หินดิน ทราย และการไหลผ่านของน้ำ ว่า หิน ดิน ทราย ว่า สิ่งไหนจะมีการดูดซึมที่ดี ไปหาน้อย และการไหลผ่านน้ำ ของหิน ดิน ทราย ว่าสิ่งไหน จะไหลผ่านได้เร็ว ตามลำดับ
3. ทำการทดลองเพื่อหาคำตอบโดยให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรม
4. อภิปรายผลการทดลอง และสรุปให้เด็กฟังอย่างเข้าใจ

Skill (ทักษะที่ได้รับ)

  ได้ร่วมการคิดวิเคราะห์ในการตอบคำถามจากคุณครูร่วมกับผู้อื่น

Adoption( การนำไปใช้)

    ใช้ในการบูรณาการการเรียนรู้ของเด็กชั้นปฐมวัยได้เเละได้รูวิธีในการสินการเรียนรู้ของเด็กในวิชาวิทยาศาสตร์


classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)

       เพื่อนๆให้ความร่วมมือในการตั้งใจฟังคุณครูดีมาก บรรยากาศค่อนข้างเย็น เเต่ไม่ม่โต๊ะในการนั่งเขียน

Self-Assessment (ประเมินตนเอง)

        มาได้ทันเวลาสอนเข้าใจเนื่อหาที่คุณครูสอน

friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)

       เพื่อนให้ความร่วมมือในการตอบคำถามทุกคนอาจมีเสียงคุยบ้างเล็กน้อย

Teacher-Assessment (ประเมินครู)


       เเต่งกายสุภาพเรียบร้อยสอนเข้าใจ มาก่อนเวลาสอน