วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

วิจัย


สรุปงานวิจัย


                                  ความสามารถในการวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรม

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
(สุมาลี  หมวดไธสง)

             กระบานการวิทยาศาสตร์ หมายถึงกระบวนการทางความคิดแก้ปัญหาอย่างมีระเบียบ

 เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ หรือคำตอบของปัญหา ความสำคัญของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีประโยชน์สำหรับเด็กปฐมวัยในการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านส่งเสริมให้เด็กคิดเป็น ทำเป็นแก้ปัญหาเป็นและสามารถนำความรู้ที่ค้นพบไปวิเคราะห์ สังเคราะห์ให้เกิดองค์ความรู้ใหม่เพื่อนำไปพัฒนาให้เกิดความเข้าใจในเรื่องที่มีความยากขึ้นต่อไป

           จากงานวิจัยของต่างประเทศพบว่า กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่เด็กปฐมวัยใช้ในการเรียนรู้มากที่สุด คือการสังเกต เนื่องจากเป็นทักษะพื้นฐานที่เด็กทุกคนใช้ในการเรียนรู้

           การจัดประสบการณ์แบบการศึกษานอกสถานที่ เป็นการพาเด็กไปศึกษานอกอาณาเขตของห้องเรียนที่เรียนกันตามปกติ ซึ่งเด็กจะได้รับประสบการณ์ตรงทำให้เก็ดเกิดความอยากรู้อยากเห็นไม่เกิดความเบื่อหน่ายและสนุกกับการเรียน

           การคิดเชิงวิเราะห์มีความจำเป็นต่อการดำเนินชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก การคิดเชิงวิเราะห์เป็นทักษะการคิดที่สามารถพัฒนาได้ ตั้งแต่วัยเด็กเล็กและให้คงทนถึงระดับมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักเรียนสามารถคิดได้ด้วยตัวเอง และเกิดความสำเร็จในการเรียนรู้
ผลการเปรียบเทีบยความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยหลังได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนมีค่าเฉลียสูงขึ้นกว่าก่อนได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
           ผลการวิจัย
           ผลการศึกษาระดับความสารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนมีระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงขึ้น(สุมาลี  หมวดไธสง)

             กระบานการวิทยาศาสตร์ หมายถึงกระบวนการทางความคิดแก้ปัญหาอย่างมีระเบียบ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ หรือคำตอบของปัญหา ความสำคัญของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีประโยชน์สำหรับเด็กปฐมวัยในการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านส่งเสริมให้เด็กคิดเป็น ทำเป็นแก้ปัญหาเป็นและสามารถนำความรู้ที่ค้นพบไปวิเคราะห์ สังเคราะห์ให้เกิดองค์ความรู้ใหม่เพื่อนำไปพัฒนาให้เกิดความเข้าใจในเรื่องที่มีความยากขึ้นต่อไป

           จากงานวิจัยของต่างประเทศพบว่า กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่เด็กปฐมวัยใช้ในการเรียนรู้มากที่สุด คือการสังเกต เนื่องจากเป็นทักษะพื้นฐานที่เด็กทุกคนใช้ในการเรียนรู้

           การจัดประสบการณ์แบบการศึกษานอกสถานที่ เป็นการพาเด็กไปศึกษานอกอาณาเขตของห้องเรียนที่เรียนกันตามปกติ ซึ่งเด็กจะได้รับประสบการณ์ตรงทำให้เก็ดเกิดความอยากรู้อยากเห็นไม่เกิดความเบื่อหน่ายและสนุกกับการเรียน

           การคิดเชิงวิเราะห์มีความจำเป็นต่อการดำเนินชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก การคิดเชิงวิเราะห์เป็นทักษะการคิดที่สามารถพัฒนาได้ ตั้งแต่วัยเด็กเล็กและให้คงทนถึงระดับมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักเรียนสามารถคิดได้ด้วยตัวเอง และเกิดความสำเร็จในการเรียนรู้
ผลการเปรียบเทีบยความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยหลังได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนมีค่าเฉลียสูงขึ้นกว่าก่อนได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
           ผลการวิจัย
           ผลการศึกษาระดับความสารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนมีระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงขึ้น

สรุปโทรทัศน์ครู



สรุปโทรทัศน์ครูเรื่อง สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์


จิตวิทยาศาสตร์คือการที่เด็กเป็นคนช่างสังเกต และต้องสังเกตอย่างละเอียดถี่ถ้วน
ในที่นี้ จะใช้การจำลองสถาณการณ์เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวนโดยการสมมติให้ เด็กเป็นนักสือเพื่อเป็นการทำให้เด็กรู้จักการสังเกต ตั้งสมมติฐานของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยครูต้องมีการวางแผน
การปลูกฝังจิตวิทยาศาสตร์คือการที่จะทำอย่างไรให้เด็กรักการเรียนวิทยาศาสตร์ ไม่น่าเบื่อ เรียนแล้วสนุก เด็กอยากเรียนรู้
วิธีการปลูกฝังจิตวิทยาศาสตร์ คือ การจัดบรรยากาศในการเรียนการสอนให้กับเด็ก เช่นในการทดลองครูจะต้องเตรียมของให้กับเด็กเพราะเด็กยังไม่สามารถจัดหาอุปกรณ์เองได้
การวัดการประเมินผลที่จะทำให้รู้ว่าเด็กมีจิตวิทยาศาสตร์ คือการสังเกตพฤติกรรมของเด็ก เช่น เด็กมีการช่างสังเกตมาขึ้น สนใจสิ่งรอบๆตัว ความแตกต่างของสิ่งที่พบเห็น การสอบถามผู้ปกครองของเด็กเด็กที่มีจิตวิทยาศาสตร์คือ เด็กจะชอบซักถาม จะชอบมีข้อสงสัยต่างๆ
เด็กที่ไม่มีจิตวิทยาศาสตร์ คือ เด็กจะไม่ค่อยสนใจ จะนิ่งเฉยในการเรียน ไม่ชอบซักถามครู

สรุปบทความ





สรุป บทความ เรื่องวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

การเรียนวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
      วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กอายุ  3 – 6  ขวบ  มิได้หมายถึงสาระทางชีววิทยา  เคมี  กลศาสตร์  แต่เนื้อหาวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยคือ  สาระเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กที่เด็กควรรู้ การสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเป็นการสอนข้อความรู้  ซึ่งต่างจากการสอนให้รู้ข้อความรู้ตรงที่การสอนข้อความรู้ต้องการความสนใจ  การสังเกต  การจำ  และการเรียกความจำจากความเข้าใจถ่ายโยงได้  ไม่ใช่การท่องจำซึ่งตรงกับการเรียนวิทยาศาสตร์ที่เป็นการเรียนรู้จากการให้คิดและมีเหตุผล
กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  เป็นการเรียนรู้ที่มีจุดมุ่งหมาย  2  ประการ  คือ  การฝึกทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และการเรียนรู้ข้อความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นธรรมชาติรอบตัวที่เด็กพบในชีวิตประจำวัน  โดยเน้นการใช้ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์  คือ  1)  การสังเกต  2)  การจำแนกเปรียบเทียบ  3)  การวัด  4)  การสื่อสาร  5)  การทดลอง  และ  6)  การสรุปและนำไปใช้  สิ่งที่ได้จากการเรียนวิทยาศาสตร์คือ  การสร้างให้เด็กมีนิสัยการค้นคว้า  การสืบค้น  และการทำความเข้าใจธรรมชาติรอบตัว  รู้จักวิธีการค้นหาความรู้อย่างนักวิทยาศาสตร์  โดยการพัฒนาทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  ในขณะเดียวกันเรียนรู้วิทยาศาสตร์รอบตัวไปด้ว

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16






Diary No. 16
Science experiences management for early childhood

Instructor Jintana suksamran

Time 13.30 - 17.30 .

Tuesday, November 17 , 2558


knowledge (ความรู้ที่ได้รับ
- ทำ cooking บัวลอย บลูเบอรี่ชีสพาย เเละไอศกรีม
- นำเสนอแผนการเรียนการสอน

เเผนการสอนที่กลุ่มดิฉันได้ทำคือ บัวลอย

วัตถุประสงค์

1. เด็กปั้นบัวลอยได้
2. เด็กแสดงชื่นชมภาคภูมิผลงานของตนและผู้อื่น
3. เด็กบอกการเปลี่ยนเเปลงของขนมบัวลอยได้

สาระการเรียนรู้
1. วิธีการทำบัวลอยและวัตถุดิบในการทำ
2. การเปลี่ยนเเปลงของขนมบัวลอย
3. มีสี เเละขนาดรูปทรงที่เเตกต่าง

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
วัตถุดิบและอุปกรณ์

1.แป้งข้าวเหนียว
2.น้ำ
3.สีผสมอาหาร
4.น้ำตาล
5. หม้อไฟฟ้า
6. ช้อน


ภาพกิจกรรม Cooking 
วิธีทำ ไอศกรีม


บลูเบอรี่ชีทพาย
บัวลอย
ขั้นตอนการทำบลูเบอรี่ชีทพาย 

ฐานไอศกรีม 
skills (ทักษะที่ได้รับ)    
ทักษะการคิดสร้างสรรค

ทักษะสังเกต

ทักษะการวิเคราะห์

Adoption (การนำไปใช้)
 นำไปประยุกต์ใช้ในการทำเเผนการสอนทำ Cooking ให้สอดคล้องกับวิชาวิทยาศาสตร์

Evaluation (การประเมิน)
Instructor Rating (ประเมินผู้สอน) คุณครูเเต่งกายสุภาพ สอนเข้าใจ 
Rating friends (ประเมินเพื่อน) เพื่อนๆให้ความร่วมมือในกิจกรรม
Self-evaluation (ประเมินตนเอง) เข้าใจในสิ่งที่คุณครูสอน 



บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 15



Diary No. 15
Science experiences management for early childhood

Instructor Jintana suksamran

Time 13.30 - 17.30 .

Tuesday, November 10 , 2558


knowledge (ความรู้ที่ได้รับ
ทำข้าวทาโกยากิ และวาฟเฟิล
นำเสนอแผนการสอน
ภาพกิจกรรม Cooking 




skills (ทักษะที่ได้รับ)    

ทักษะการคิดสร้างสรรค
ทักษะสังเกต
ทักษะการวิเคราะห์

Adoption (การนำไปใช้)
    นำไปประยุกต์ใช้ในการทำเเผนการสอนทำ Cooking ให้สอดคล้องกับวิชาวืทยาศสาสตร์

Evaluation (การประเมิน)
Instructor Rating (ประเมินผู้สอน) คุณครูเเต่งกายสุภาพ สอนเข้าใจ 
Rating friends (ประเมินเพื่อน) เพื่อนๆให้ความร่วมมือในกิจกรรม
Self-evaluation (ประเมินตนเอง) เเรียนรู้ในสิ่งที่คุณครูสอนมากยิ่งขึ้น



บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 14



Diary No. 14
Science experiences management for early childhood

Instructor Jintana suksamran

Time 13.30 - 17.30 .

Tuesday, November 3 , 2558

knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)
-  อาจารย์และนักศึกษาร่วมอภิปรายได้การสอน Cooking ในแต่ละกลุ่ม
การจัดเขียนแผนการสอนนั้นจะ ต้องประกอบไปด้วย
1.วัตถุประสงค์   ใช้คำกริยาที่สามารถบอกว่าเด็กที่ทำได้และเด็กสามารถสังเกตได้
2.สาระการเรียนรู้ จะต้องมี ประสบการณ์สำคัญ เพื่อสอดคล้องกับพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
 สามารถดูในหลักสูตรและสาระที่ควรรู้ คือ  เนื้อหาที่เด็กจะต้องศึกษาเรียน
3.กิจกรรมการเรียนรู้ บอกวิธีการสอน แบ่งเป็น 3 ขั้น ขั้นนำ ขั้นสอน และขั้นสรุป
4.สื่อ/แหล่งเรียนรู้ อุปกรณ์ที่ใช้ในการสอนแต่ละครั้ง
5.การวัดและประเมินผล ที่เราจะสังเกตเด็ก
6.การบูรณาการให้สอดคล้องเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
skills (ทักษะที่ได้รับ)    
    ทักษะการวิเคราะห์
    ทักษะการถาม-ตอบ
    ทักษะการสังเกต
Adoption (การนำไปใช้)
    นำไปใช้ในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง
Evaluation (การประเมิน)
Instructor Rating (ประเมินผู้สอน)คุณครูเเต่งกานเรียบร้อย สอนเข้าใจ
Rating friends (ประเมินเพื่อน) ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
Self-evaluation (ประเมินตนเอง) เข้าใจในสิ่งที่คุณครูสอน

บันทึกอนุธิน ครั้งที่ 13



Diary No. 12
Science experiences management for early childhood

Instructor Jintana suksamran

Time 13.30 - 17.30 .

Tuesday, November 27 , 2558

knowledge (ความรู้ที่ได้รับ)
-  ปฎิบัติกิจกรรมการนำเสนอเรื่อง

1.กิจกรรม    การทดลองเรื่องสี

2.กิจกรรม   การเป่าเชือกโดยใช้ลม


  3.กิจกรรม     การทดลองแรงดันอากาศ จากกระดาษ

4.กิจกรรม การทดลอง แรงดันอากาศ จากน้ำ


5.กิจกรรม    การสะท้อนของวัตถุ กระจก


  6.กิจกรรม     แสงกับอากาศ

    


skills (ทักษะที่ได้รับ)    
    ทักษะการวิเคราะห์
  
Adoption (การนำไปใช้)
    นำกิจจมต่างๆ ไปใชในการสอน การปฎิบัติทางวิทยาศาสตร์ต่อไป

Evaluation (การประเมิน)

Instructor Rating (ประเมินผู้สอน)คุณครูมาทันเวลาเเต่งกายสุภาพ 
Rating friends (ประเมินเพื่อน)ช่วยกันคิดวิเคราะห์ในการทำการทดลองได้ดี
Self-evaluation (ประเมินตนเอง) เข้าใจในสิ่งที่คุนครูสอน

บันทักอนุทิน ครั้งที่ 12



Diary No. 12
Science experiences management for early childhood


Instructor Jintana suksamran



Time 13.30 - 17.30 .


Tuesday, November 20 , 2558


Story of subject (เนื้อหาที่สอน)
เพื่อนออกนำเสนอบทความ
เลขที่ 11 เรื่องทำอาหารกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์
เลขที่ 12 เรื่องเรียนรู้ อยู่รอด

นำเสนอของเล่น 3 ชิ้น
1.ของเล่นที่ใช้ในการทดลอง บ้านลูกโป่งลอยได้

2.ของเล่นเข้ามุม   บ้านไฟฉาย



3.ของเล่นประดิษฐ์ได้เอง พัดมายากล


กลุ่มที่ 2 หน่วยผีเสื้อ
กลุ่มที่ 3  หน่วยดิน
กลุ่มที่ 4  หน่วยยานพาหนะ
กลุ่มที่ 5  หน่วยร่างกาย



Skill (ทักษะที่ได้รับ)


  ได้ร่วมการคิดวิเคราะห์ในการตอบคำถามจากคุณครูร่วมกับผู้อื่นได้ใช้ความคิดในการสร้างสิ่งประดิษฐ์เเต่ละอย่างโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์

Adoption( การนำไปใช้)

    ใช้ในการบูรณาการการเรียนรู้ของเด็กชั้นปฐมวัยได้เเละได้เข้าใจการเรียนรู้ของเด็ก 

classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
       เพื่อนๆให้ความร่วมมือในการตั้งใจฟังคุณครูดีมาก บรรยากาศค่อนข้างเย็น เเต่ไม่มีโต๊ะในการนั่งเขียน
Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
        มาได้ทันเวลาสอนเข้าใจเนื่อหาที่คุณครูสอน
friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
       เพื่อนให้ความร่วมมือในการตอบคำถามทุกคนอาจมีเสียงคุยบ้างเล็กน้อย
Teacher-Assessment (ประเมินครู)

       เเต่งกายสุภาพเรียบร้อยสอนเข้าใจ มาก่อนเวลาสอน